แม้ ‘การแพทย์ทางไกล’ (telemedicine) จะยังไม่อาจมาแทนที่สถานพยาบาล เช่น โรงพยาบาล ได้ก็ตาม
แต่ก็ถือเป็นทางเลือกใหม่ๆ ให้กับผู้คนได้ใช้รักษาอาการเจ็บป่วยและดูแลสุขภาพของตัวเอง โดยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ทำให้คนเข้าถึงบริการการแพทย์ได้มากขึ้น ขณะเดียวกัน ก็ช่วยลดภาระของบุคลากรทางการแพทย์ไปในเวลาเดียวกัน
The MATTER ขอถือโอกาสนี้ แนะนำแอพพลิเคชั่นเพื่อให้บริการการแพทย์ทางไกลที่มีให้บริการแล้วในเมืองไทย (บางส่วน) นี่คือตัวอย่างอย่างเป็นรูปธรรมของการนำเทคโนโลยีมาช่วยให้ชีวิตของผู้คนดีขึ้น
ChiiWii
– เปิดให้บริการปี 2560
– บริการ: ให้คำแนะนำด้านสุขภาพ (เน้นสุขภาพผู้หญิง แม่และเด็ก สุขภาพจิต และการดูแลสุขภาพกายของคนใน
– อัตราค่าบริการ: มีหลายแพ็คเกจ
– ขั้นตอนการให้บริการ: ค้นหาหมอ ทำนัดหมาย แล้วเลือกรับบริการผ่านแชท โทรศัพท์ หรือ vdo call
– ที่มา: เว็บไซต์ทางการระบุว่า เห็นข้อมูลการแพทย์ที่ท่วมอ
See Doctor Now
– เปิดให้บริการปี 2560
– บริการ: ปรึกษาแพทย์
– อัตราค่าบริการ: รายปี 2,990 ปี ไม่จำกัดครั้ง รายครั้ง 490 บาท/10 บาท
– ขั้นตอนใช้บริการ: พิมพ์บอกอาการเบื้องต้น คุยกับพยาบาลวิชาชีพที่จะเล
– ที่มา: เว็บไซต์ทางการให้ข้อมูลว่า
Ooca
– เปิดให้บริการปี 2560
– บริการ: ปรึกษาจิตแพทย์และนักจิตวิท
– อัตราค่าบริการ: เริ่มต้น 1,000 บาท/30 นาที
– ขั้นตอนการให้บริการ: นัดวันเวลาที่สะดวก ผู้ให้บริการจะติดต่อไปผ่าน
– ที่มา: ทพญ.กัญจน์ภัสสร สุริยาแสงเพ็ชร์ ผู้ก่อตั้งบอกว่า Ooca เกิดขึ้นมาได้ เพราะมีกำแพงใหญ่กั้นระหว่า
Raksa
– เปิดให้บริการปี 2561
– บริการ: ปรึกษาแพทย์
– อัตราค่าบริการ: ตามระยะเวลาที่ขอปรึกษาแพทย
– ขั้นตอนการให้บริการ: ดูว่าหมอคนไหนออนไลน์ทักเข้
– ที่มา: กวิน อัศวานันท์ เคยให้สัมภาษณ์ว่า ตามสถิติผู้ป่วย 40% ไม่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลด้
Doctor A to Z
– เปิดให้บริการปี 2562
– บริการ: ปรึกษาแพทย์ นัดหมายโรงพยาบาลและบริการท
– อัตราค่าบริการ: เฉพาะปรึกษาแพทย์มีแพ็คเกจ 3 ครั้ง/750 บาท 7 ครั้ง/1,500 บาท 12 ครั้ง/2,500 บาท
– ขั้นตอนการให้บริการ: นัดหมายรับบริการที่โรงพยาบ
– ที่มา: นพ.อนุชา พาน้อย ผู้ก่อตั้ง มีความตั้งใจ อยากให้ทุกคนมี ‘โอกาส’ เข้าถึงแพทย์ได้ดีที่สุด ง่ายที่สุด รวดเร็วที่สุด และไม่มีค่าใช้จ่ายที่มากเก
Samitivej Virtual Hospital
– เปิดให้บริการปี 2562
– บริการ: ให้คำแนะนำและบริการทางการแ
– อัตราค่าบริการ: 500 บาท/15 นาที
– ขั้นตอนใช้บริการ: ไม่ต้องนัดหมายล่วงหน้า พบพยาบาลประเมินอาการ แล้วค่อยพบแพทย์เฉพาะทางผ่า
– ที่มา: นำเทคโนโลยีมาช่วยให้ผู้ป่ว
Doctor Anywhere Thailand
– เปิดให้บริการปี 2563
– บริการ: ปรึกษาแพทย์
– ขั้นตอนใช้บริการ: วางตัวเองเป็น ‘คลินิกออนไลน์’ ปรึกษาแพทย์ที่ออนไลน์อยู่ต
– ที่มา: สตาร์ตอัพสิงคโปร์มาลงทุนใน
Siriraj Connect
– เปิดให้บริการปี 2563
– บริการ: พบแพทย์ออนไลน์ (ให้บริการเฉพาะผู้ป่วยที่น
– อัตราค่าบริการ: เช่นเดียวกับการมาพบแพทย์ที
– ขั้นตอนใช้บริการ: แอดไลน์โรงพยาบาลศิริราช แล้วรอแพทย์ติดต่อด้วย vdo call หาผ่านไลน์ จะได้คุยกับแพทย์ที่ห้องตรว
– ที่มา: เริ่มทดลองใช้ในช่วง COVID-19 เพราะการเดินทางมาโรงพยาบาล
ทั้งนี้ ในปี 2563 แพทยสภาได้ออกประกาศมากำหนดเกณฑ์การให้บริการการแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (telemedicine) และคลินิกออนไลน์ ขณะที่คณะอนุกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม สภาผู้แทนราษฎร เพิ่งเชิญผู้เกี่ยวข้องไปหารือถึงอนาคตของ telemedicine ในไทย
โดยว่ากันว่า ในอนาคตอาจจะมีการออกกฎหมายว่าด้วย ‘การแพทย์ทางไกล’ หรือ telemedicine โดยเฉพาะ