เปิดเทอมใหม่ ประเด็นใหญ่แวดวงการศึกษาไทย ไม่ใช่เรื่องการรับมือโควิด ไม่ใช่เรื่องจะพัฒนาการศึกษายังไงในยุคนิวนอร์มัล และไม่ใช่เรื่องจะลดความเหลื่อมล้ำยังไง เพื่อให้เด็กไทยเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม
แต่เป็นเรื่อง.. ทรงผม!
ครูผู้หวังดี (และผู้ปกครองที่คล้อยตาม) ยังมองว่า ทรงผมที่เป็นระเบียบจะช่วยฝึก ‘วินัย’ ให้เด็กๆ โตขึ้นพร้อมทำตามกฎระเบียบของสังคม แต่ครูครับ ครูลืมไปแล้วหรือเปล่าว่า กระทรวงศึกษาธิการเขาเพิ่งออก ‘ระเบียบว่าด้วยนักเรียน’ ฉบับใหม่ มาไม่กี่เดือนก่อน ผ่อนคลายเรื่องทรงผมของเด็กๆ มากขึ้น – ทำไมครูไม่ทำตามระเบียบของกระทรวงนะ งงจัง
อวสาน หัวเกรียนกับติ่งหู ?
ทรงผมของนักเรียนชาย-หญิงที
ในปี พ.ศ.2548 ยังมีการออก พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก ที่ยกเลิกกฎกระทรวง (ศึกษาธิการ) ทั้งสองฉบับมาอีกด้วย
ต่อมา ในปี พ.ศ.2556 รมว.ศึกษาธิการขณะนั้น ยังส่งจดหมายเรื่องทรงผมนัก
อีกข้อสังเกตก็คือ การลงโทษนักเรียนด้วยการกร้
ทรงผมนักเรียนไทย ยุคนี้
หมดยุคหัวเกรียน-ติ่งหูมากว
ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่
“นักเรียนชาย จะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง ด้านหลังต้องยาวไม่เลยตีนผม
“นักเรียนหญิง จะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตามคว
ใครไม่เชื่อ ไปตามอ่านกันได้ที่: http://
ซึ่งแม้ระเบียบกระทรวงศึกษา
ข้อห้าม-ข้อกำหนด
อย่างไรก็ตาม การอนุญาตให้ไว้ผมดังกล่าวข
(1) ดัดผม
(2) ย้อมสีผมให้ผิดไปจากเดิม
(3) ไว้หนวดหรือเครา
(4) การกระทำอื่นใดซึ่งไม่เหมาะ
นอกจากนี้ ยังมีข้อยกเว้นการไว้ผม ตามหลักความเชื่อของศาสนา หรือการดำเนินกิจกรรมบางอย่
ช่วงท้ายของระเบียบกระทรวงศ
เรื่องราวเกี่ยวกับศีรษะของ นักเรียนไทย มีทั้งหมดเท่านี้แหละ โลกเปลี่ยน ระเบียบเปลี่ยน แต่ผู้เกี่ยวข้องบางคนยังเคยชินกับการวัตรปฏิบัติแบบเดิมๆ