เมื่อนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์คนหนึ่ง โพสต์ภาพหมุดคณะราษฎรในเฟซบุ๊กส่วนตัวของตนพร้อมแคปชั่นว่า “ประกาศหาเจ้าของ ถ้าไม่มาขุดเอาไป ภายในวันที่ 30 ธ.ค. 2559 ผมกับเพื่อนๆ ถือว่าไม่มีเจ้าของ จะไปเอาออกหรือทำให้หมดสภาพเอง ถ้ายังอยากเก็บรักษาไว้ รีบขุดออกไปเสียให้พ้น” จึงก่อให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างร้อนแรงและกว้างขวาง
นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่มีคนพยายามจะทำลายหมุดปฏิวัติ 2475 หรือหมุดคณะราษฎร ที่ผ่านมามีทั้งการสาดสี ขีดข่วน ไปจนทำพิธีทางไสยศาสตร์ ล่าสุดวันนี้ (14 เมษายน 2560) หมุดได้ถูกรื้อถอนและเปลี่ยนเป็นหมุดใหม่ พร้อมข้อความใหม่
The MATTER พาไปไขข้อข้องใจ กับ ‘ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ เผือกสม’ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าปรากฏการณ์ดังกล่าวบอกอะไรกับสังคม การที่มีบุคคล หรือกลุ่มบุคคล ต้องการถอนทำลายหมุดทองเหลืองบริเวณถนนหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม ‘หมุด’ อันเป็นจุดที่หัวหน้าคณะราษฎรประกาศเปลี่ยนการปกครอง ‘หมุด’ อันเป็นพื้นที่แห่งการรำลึกทุกวันที่ 24 มิถุนายนของทุกปี หมายความว่าอย่างไร และนอกจากหมุดทองเหลืองนี่ แล้วยังมีอะไรอีกบ้างที่เป็นอนุสรณ์และมรดกของคณะราษฎร
ต่อให้รื้อถอนหมุดไปก็
ไม่ได้ทำให้เหตุการณ์ดังกล่ าวระเหิดหายไปในประวัติศาสตร์ หรือทำให้สามารถรื้อถอนเหตุ การณ์ดังกล่าวเสมือนหนึ่งไม่ เคยบังเกิดขึ้น เพราะเหตุการณ์ได้บังเกิดขึ้ นแล้ว และประวัติศาสตร์ดังกล่าวก็ จะกลับมาหลอกหลอนอยู่เสมอ
จากกรณีที่มีนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์คนหนึ่งโพสต์เฟซบุ๊กส่
หมุดคำประกาศของคณะราษฎรก็คงเป็
เอกสารกราบบังคมทูลความเห็นจั
ดังนั้นต่อให้รื้อถอนหมุดไปก็
นอกจากหมุดคณะราษฎรที่ว่านี้
อนุสรณ์ที่น่าจะสำคัญที่สุ
หากต้องการยกเลิกสิ่งที่เป็
ต้องยุบเลิกหน่วยงานอย่างเช่
ต้องยกเลิกระบบรัฐวิสาหกิจที่
แต่เหนือสิ่งอื่นทั้งหมด คือ การยกเลิกกระบวนการผลักดั
ทั้งหมดนี้แปลว่า รัฐบาลจะต้องทำโครงการอะไรขึ้
การที่หมุดนี้คงอยู่หรือไม่
การมีหมุดหรือไม่มีหมุดดังกล่
ปรากฏการณ์ในตอนนี้จึงช่วยตอกย้ำ
ให้รู้ว่าการปฏิวัติ พ.ศ.2475 ไม่เคยบรรลุผลใดๆ อย่างเป็นชิ้นเป็นอัน และผลักดันสังคมไทยมาอย่างครึ่ งๆ กลางๆ จนทำให้คนจำนวนมากรู้สึกว่าปั ญหาที่เกิดขึ้นเป็ นมรดกของคณะราษฎร
ในขณะที่โลกแบบจารีตคือสิ่งที่
เป็นไปได้หรือไม่ว่าความต้
การพยายามรื้อถอนหมุดเป็
เพราะประวัติศาสตร์สยามแบบที่
ดังนั้น สภาวการณ์ที่เราเผชิญอยู่นี้จึ
และนั่นก็คือคำอธิบายหนึ่งจากอาจารย์ ‘ทวีศักดิ์ เผือกสม’ สำหรับกรณีความต้องการถอนทำลายหมุดคณะราษฎร หนึ่งในความคิดเห็นอันหลากหลายในสังคม สิ่งสำคัญที่สุด คือ เราอาจต้องกลับมาทบทวนตัวเองว่าสิ่งที่กำลังทำ หรือทางที่กำลังเดินไป กำลังจะนำเราไปสู่จุดไหนกันแน่ ประวัติศาสตร์จะซ้ำรอยเดิม หรือจะเปลี่ยนไปในทิศทางที่ดี ก็ขึ้นอยู่กับว่าเราได้เรียนรู้อะไรจากมันไปบ้าง