เมื่อถึงช่วงสอบเชื่อว่ าหลายคนคงรู้สึกอยากทำโน่นทำนี่ ไม่ว่าจะเป็นนั่งสมาธิ ดำน้ำ ปลูกปะการัง ทำอาหาร นวดสปา ปลูกป่า พอ! เรียกได้ว่าอยากทำทุกอย่างที่ ไม่ใช่อ่านหนังสือ ด้วยสารพัดเหตุผล ทั้งเนื้อหาเยอะ อ่านเท่าไหร่ก็จำไม่ได้ ไม่เข้าใจซะที
แต่ถ้าหนังสือที่แสนจะน่าเบื่ อนี้กลายเป็นรูปแบบ 3 มิติ แถมยังมีการย่อยความรู้ ทำให้เราสามารถอ่านได้ง่ายขึ้ นล่ะ?
The MATTER พาไปคุยกับ นนท์-ฐิติวุฒิ นันทิภาคย์หิรัญ และ พัฒน์-ปริพัฒน์ สินมา สองหนุ่มผู้ใช้ design thinking ในการนำเสนอสื่อการเรียนการสอน ภายใต้ชื่อ Wizes นวัตกรรมแรกที่ Wizes คลอดออกมาก็คือ หนังสือเรียนสรุปสังคมศึกษา ม.ปลาย ที่มีการใช้เทคโนโลยี Augmented Reality หรือ (AR) เข้ามาช่วยทำให้ภาพสมจริงมากขึ้
The MATTER : จุดเริ่มต้น รวมถึงคอนเซ็ปต์ของการทำหนังสื
นนท์ : จุดเริ่มต้นมาจากผลงานวิจัยจั
The MATTER : ทำไมถึงเลือกวิชาสังคมศึกษาขึ้
พัฒน์ : พวกเราเองมองว่าวิชาสังคมเป็นวิ
The MATTER : การย่อยข้อมูลจากหนังสือ ม.ปลาย หลายเล่ม มาสู่หนังสือที่มีความหนาเพียง 205 หน้า มีวิธีการทำงานอย่างไร เราเลือกข้อมูลที่จะ ‘เอา’ หรือ ‘ไม่เอา’ อย่างไร และมีวิธีเลือกอินโฟกราฟิกแต่
นนท์ : เนื่องจากเป็นหนังสือสรุปของเด็
ส่วนวิธีเลือกการออกแบบนั้น เราออกแบบจากข้อมูลดิบให้ดูง่าย ไม่เน้นการตกแต่ง เน้นการใช้ภาษาภาพ (visual language) และการใช้ทฤษฎีต่างๆ เป็นพื้นฐานการออกแบบครับ เช่น การจัดลำดับ (hierarchy) จิตวิทยาทางการออกแบบ (gestalt) เพื่อจะให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย จดจำได้ ถ้าเค้าเข้าใจคอนเซ็ปต์ ของเนื้อหานั้นแล้ว การหาข้อมูลต่อก็จะเป็นสิ่งที่
The MATTER : ระหว่างขั้นตอนรวบรวมข้อมูลกั
พัฒน์ : จริงๆ ผมว่ามันก็ยากทั้งสองส่วน การทำความเข้าใจทางข้อมูลมันก็
The MATTER : ก่อนหน้านี้ทำอะไร ถึงได้มาทำ Visual Knowledge
พัฒน์ : ผมจบ communication design ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำงานกราฟิกออกแบบอยู่แล้ว เป็นครูสอนวิชาออกแบบพื้นฐานกับ software illustrator อยู่ที่ BEAR SCHOOL OF VISUAL SPECIALIST แล้วก็มีสอนที่ ม.กรุงเทพนิดหน่
นนท์ : ผมจบด้าน product design ส่วนตัวถนัดด้านการวิ
The MATTER : ทำไมถึงเลือกเทคโนโลยีอย่าง Augmented Reality (AR) เข้ามาใช้ในบางส่วนของเนื้
พัฒน์ : AR เป็นเทคโนโลยีที่สร้างมิติ
นนท์ : ซึ่งมองในเชิงผู้บริโภค การนำ AR ไปใช้ก็ทำให้เขาตื่นตาตื่นใจด้
(The MATTER : พวกอาจารย์โอเคกับอะไรแบบนี้ใช่
พัฒน์ : ก็แฮปปี้นะครับ เขาพร้อมจะเรียนรู้เหมือนกัน range ของอาจารย์จะค่อนข้างหลากหลาย ตั้งแต่อาจารย์จบใหม่ ไปจนถึงอารย์ที่สอนมาสักพักแล้ว เขาก็จะเอาไปให้หัวหน้าหมวดดูและ
The MATTER : หนังสือเรียนส่วนใหญ่ใช้เนื้
พัฒน์ : มันก็เป็นจุดแข็งนึงของเรา บางทีงานออกแบบหรือสิ่งที่เราพั
นนท์ : ถ้ามองในเชิงธุรกิจ การทำเนื้อหาของเราจะมองหานักวิชาการที่สนใจการพั
The MATTER : มีหนังสือเรียนของต่างประเทศที่
พัฒน์ : มีของสำนักพิมพ์ DK ประเทศอังกฤษครับ ชุดหนังสือที่เป็น series เล่าเรื่องยากๆ ให้ง่ายอย่างปรัชญา ศาสนาต่างๆ ซึ่งข้อมูลมันมีความซับซ้อนมาก แต่ใช้ภาพมาเล่าให้ง่าย แต่เขาก็ยังไม่ได้ย่อยเยอะเท่
The MATTER : เด็กสามารถอ่านหนังสือเล่มนี้
นนท์ : ใช่ ถ้าข้อสอบออกไม่เกินหลักสูตร (หัวเราะ)
พัฒน์ : คืออันนี้จะอ่านง่ายกว่า อ่านได้นานกว่า ไม่หลับ หรือว่าอ่าน 1 ชั่วโมงเท่ากันแต่ความรู้เข้าหั
The MATTER : จะเห็นว่าหนังสือเล่มนี้มันเป็
นนท์ : ขนาดไปปรึกษากับกระทรวงพาณิชย์
พัฒน์ : ถ้าถ่ายเอกสารสีหนึ่งหน้าก็ประมาณ 20 บาท แต่ถ้าถ่ายทั้งเล่ม ซื้อก็คุ้มกว่า คือมันจะเห็นแค่แบบฟอร์ม รูปทรง แต่ทางจิตวิทยาบอกว่ามนุษย์
The MATTER : หนังสือเรียนกับการศึกษาไทย สะท้อนกันอย่างไร และเราควรพัฒนาไปในทางไหน
พัฒน์ : หนังสือ หรือสื่อเรียนในสมัยเด็กเป็นสิ่
นนท์ : เราเชื่อว่า อินโฟกราฟิกมันจะดีสำหรับเด็กด้
The MATTER : อย่างนี้แสดงว่า หนังสือเรียนแบบเดิมไม่มีการจั
พัฒน์ : ตอบยาก (หัวเราะ)
นนท์ : จริงๆ มันอาจจะต้องพูดถึงเรื่งของยุ
พัฒน์ : อย่างตัวหนังสือเล่มนี้ บางทีจะเห็นว่าบางหน้ามันดูมี
The MATTER : แปลว่าหนังสือเรียนในยุคเก่าไม่
พัฒน์ : ใช่ครับ ผมมองอย่างนั้น เพราะว่าเมื่อก่
The MATTER : ทุกเฉดสีทุกการออกแบบในหนังสื
พัฒน์ : ใช่ครับ อย่างสีหลักๆ ที่ใช้ทำให้แบ่งเนื้อหาได้ง่
(The MATTER : เรียกได้ว่าเป็น design thinking อย่างแท้จริง เพราะโดยรากฐานของงาน design คือการแก้ปัญหาอยู่แล้ว)
ใช่ครับ แล้วเราก็เอาสิ่งๆ นี้มาปรับใช้กับหนังสือและการศึ
The MATTER : แล้วคิดว่า design thinking ควรจะเป็นแกนหนึ่งของระบบการศึ
พัฒน์ : จากที่ผมเรียนสายออกแบบ ผมรู้สึกว่าควรจะ apply เข้ามาใช้ เพราะว่า design thinking จะทำให้เด็กคิดถึงปัญหา solution แทนที่จะ aesthetic ความสวยงาม อย่างในสมัยผมวิชาศิลปะจะเป็นวิ
นนท์ : ซึ่งถ้าพูดถึงเรื่อง solution ต่างๆ มันก็เหมือนจะทำให้เด็กเปิดกว้
พัฒน์ : ผมว่าถ้าเราสอน creative thinking , critical thinking, business thinking หรือ design thinking ไปตั้งแต่ตอนเรียน สมมติถ้าจบ ม.6 ไป เด็กก็ยังจะสามารถแก้ปั
นนท์ : มันก็อาจจะเปลี่ยนบริบทจากการการตามสิ่
The MATTER : กลับมาที่เรื่องหนังสือ บทเรียนไหนในหนังสือที่รู้สึกว่
พัฒน์ : จริงๆ มันก็ยากเกือบหมดนะครับ แต่หลักๆ ก็คงจะเป็น timeline
นนท์ : timeline มันยากเรื่องการ proof ข้อมูลเพื่อเอามาลง เพราะว่า พ.ศ. มีความคลาดเคลื่อนกันอยู่
พัฒน์ : มันมี source ใหม่ๆ หรือว่า source ที่ต้องไปเอามาจากต่างประเทศ แล้วก็ต้องนำมา proof กับผู้เชี่ยวชาญอีกทีหนึ่งว่าข้
นนท์ : ที่เจ็บปวดที่สุดสำหรับผมก็คื
พัฒน์ : ใช่ๆ การย่อยศาสนาพุทธให้เป็
The MATTER : แล้วการใช้ icon หรือสัญลักษณ์เพื่อแทนเรื่องต่
พัฒน์ : อย่าง icon เนี่ย เราพยายามที่จะทำให้มันเข้าใจง่
The MATTER : อยากรู้ว่าตอนที่ทำรู้สึกอย่
พัฒน์ : จริงๆ ก็สองอย่างนะ (หัวเราะ)
นนท์ : คือตอนทำก็น้ำตาไหลนะแต่
พัฒน์ : เพราะว่า feedback ก็ดีเหมือนกันครับ
นนท์ : ซึ่งพูดถึงประเด็นเมื่อกี้ที่
(The MATTER : เพราะว่าหนังสือเรียนความรู้มั
นนท์ : ใช่ครับ
พัฒน์ : แต่อันนี้ไม่ตายตัว มันจะ develop ทุกปีครับ
นนท์ : เราเชื่อว่าการศึกษา หรือความรู้ที่เราเชื่อยู่ตอนนี้
The MATTER : อะไรคือสิ่งที่ได้รับจากการทำหนังสือเล่มนี้
พัฒน์ : ผมรู้สึกว่า feedback คือ reward หรือว่าสิ่งที่มันสร้างความเปลี่
The MATTER : ถ้าตอนนี้ให้ไปสอบ o-net คิดว่าจะได้คะแนนมากแค่ใหน
นนท์ : จริงๆ ผมเคยลองดู ก็ค่อนข้างมั่นใจนะครับ (หัวเราะ) ต้องยอมรับว่าการออกข้อสอบสั
พัฒน์ : แต่ในเล่มก็จะมีข้อมูลใหม่ๆ อย่างเช่น การค้นพบน้ำในแกนโลกซึ่งมันเพิ่งมีมาเมื่อปีที่แล้ว หรือว่าดวงจันทร์ดวงที่สองที่เพิ่งค้นพบ หรือข้อมูลสนุกๆ อย่างซูชิปลาแซลมอนเกิดขึ้นเมื่
The MATTER : ช่วยนิยามคำว่า ‘ความรู้’ ในสิ่งที่ค้นพบจากการทำโปรเจกต์นี้
พัฒน์ : ความรู้มันเป็นสิ่งที่ไม่ได้มี
นนท์ : ผมว่าเราจะเรียกสารที่เรารั
The MATTER : แผนในอนาคตของทีมเป็นอย่างไร มีโปรเจกต์ที่คิดจะทำสรุปเป็นอิ
พัฒน์ : มีครับ แต่ก็กำลังเริ่มๆ อยู่ มีแผนจะออกวิชาอื่นๆ อีกในปีนี้ เรียกว่าเราทำสื่อเพื่อการเรี
(The MATTER : คิดว่า plat from นี้ใช้ได้กับความรู้ทุกประเภทเลยมั้ย)
พัฒน์ : ใช้ได้กับทุกประเภทครับ ตั้งแต่คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ หรือวิชาใดๆ ก็ตาม การย่อยข้อมูลมันเป็นเหมื
นนท์ : ซึ่งถ้าอ้างอิงถึงการทำความเข้
The MATTER : มีความคาดหวังอย่างไรบ้างกับหนั
พัฒน์ : ผมก็หวังว่ามันจะเป็นจุดเริ่
นนท์ : ผมมองว่าจริงๆ เราก็มีความคาดหวังอยู่เหมือนกั
สำหรับผมเองหรือสำหรับเราเอง มองว่ามันเป็นประโยชน์ เป็นตัวตั้งต้นของอะไรหลายๆ อย่าง มันสามารถ apply ได้แม้กระทั่งกับนักเรียนทั้ งครูหรือว่าทั้งภาคธุรกิจ ถ้าหากมองในเทรนด์โลกเราก็จะเห็ นว่าทุกคนให้ความสำคัญกับ design thinking มากครับ